เมื่อกล่าวถึงการรักษาเส้นเลือดขอด หลายคนอาจได้ยินสิ่งที่เรียกว่า “ถุงน่องเส้นเลือดขอด” ที่เป็นส่วนหนึ่งของการรักษานั่นเอง แต่หลายคนอาจสงสัยว่า แล้วถุงน่องเส้นเลือดขอดคืออะไร เหมือนกับถุงน่องทั่วไปหรือไม่ แล้วทำไมต้องใส่ จำเป็นต้องใส่ไหม?
ไม่สวมใส่เสื้อผ้าที่รัดแน่น โดยเฉพาะกางที่ฟิตและรัดบริเวณขาหนีบและเอว
การป้องกันเส้นเลือดขอดสามารถทำได้โดยการปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพ เช่น ออกกำลังกาย (เดิน วิ่งเบา ๆ ปั่นจักรยาน) เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด ควบคุมน้ำหนักเพื่อลดแรงกดดันที่ขา สวมถุงน่องที่ช่วยลดแรงดันในเส้นเลือด และใช้หมอนรองขายกขาสูงเมื่อพักผ่อน เพื่อลดการสะสมของเลือดในเส้นเลือดขา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การเคลื่อนไหวขาและหลีกเลี่ยงการยืนนาน จะช่วยลดโอกาสเกิดเส้นเลือดขอดได้มากขึ้น
เป็นการรับประทานยา เพื่อบรรเทาอาการเส้นเลือดขอด โดยมักเป็นยาที่ทำหน้าที่เพิ่มการบีบตัว ลดการอักเสบ และช่วยให้ลิ้นภายในหลอดเลือดดำแข็งแรงขึ้น นอกจากนี้ตัวยายังช่วยให้การไหลเวียนเลือดภายในเส้นเลือดฝอยเป็นปกติ และเพิ่มการระบายของระบบน้ำเหลืองอีกด้วย
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ในวัยรุ่น หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยทอง หรือแม้กระทั่งการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดก็อาจส่งผลทำให้เกิดเส้นเลือดขอดมากขึ้นได้
มีอาการปวดมากขึ้น หลังนั่งหรือยืนนาน ๆ
อาจทำให้เกิดแผลบริเวณขาและเท้าได้ง่าย ซึ่งแผลที่เกิดจะหายได้ช้า เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดไม่ดี และถ้าแผลมีเลือดออก เลือดก็มักจะออกมากและหยุดไหลช้าเนื่องจากการมีความดันในเส้นเลือดดำที่สูงกว่าปกติ
แผล อาจเกิดแผลที่ขา โดยเฉพาะบริเวณข้อเท้า ก่อนจะเกิดแผล ควรสังเกตว่าสีผิวบริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ รักษาเส้นเลือดขอด ควรพบแพทย์ทันทีหากมีแผลที่ขา
หลับสนิท ตื่นสดชื่น สุขภาพดีจากภายใน
ทำไมต้องเสริมหน้าอกที่รัตตินันท์
ทำไมต้องผ่าตัดกระเพาะ ลดน้ำหนักกับรัตตินันท์
อาการของผู้ที่มีเส้นเลือดขอดที่สังเกตได้คือ อาการปวด หน่วง ชา และบวมบริเวณที่เป็นเส้นเลือดขอด เส้นเลือดขอดในบางรายจะเห็นชัด แต่ในบางรายก็จะยังมองไม่เห็น แต่จะมีอาการปวด และเป็นตะคริวได้บ่อย ๆ ในตอนกลางคืน ซึ่งเพศหญิงจะมีแนวโน้มเป็นเส้นเลือดขอดได้มากกว่าเพศชาย โดยจำแนกได้ ดังนี้
